วันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2555

โครงงานน้ำพริก

โครงงานบูรณาการ8กลุ่มสาระการเรียนรู้
และการสืบค้นภูมิปัญญาท้องถิ่นในเขตอำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา
โครงงาน น้ำพริกอ่อง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 กลุ่มทีี22/44
ภาคเรียนทีี่1  ปีการศึกษา2555


กลุ่มผู้ศึกษา
1.นาย  กวินกุน    หว่ากลาง   เลขทีี่6 ชั้นม.4/5
2.นายดลวิทย์  ช่างเก่ง  เลขที่3 ชั้นม.4/5
3.นางสาวจุฑามาศ  สะมุล  เลขที่34  ชั้นม.4/5
4.นางสาวลีลาวดี  เผกลาง เลขที่36  ชั้นม.4/5
5.นางสาววรดา  หมายเกี่ยวกลาง  เลขที่37  ชั้นม.4/5
6.นางสาว เจนจิรา  จินดากลาง  เลขที่44  ชั้นม.4/5
7.นางสาวสโรชา  พลวงนอก  เลขที่  ชั้นม.4/5
8.นางสาว ชนิสรา  เชยอารมณ์  เลขที่    ชั้น4/5
9.นางสาวสุภาวดี  ชนทองหลางเลขที่ 51 ชั้นม.4/5
10.นางสาวญาสุมินทร์  เทียมทองหลางเลขที่ 54ชั้นม.4/5
11.นางสาวฐิติมา พูนศรี เลขที่ 53  ชั้นม.4/5

ความสำคัญของน้ำพริกอ่องเลิศรส
             น้ำพริกอ่อง นับเป็นน้ำพริกล้านนาชนิดหนึ่งซึ่งเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายทั่วไปพอ ๆ กับ น้ำพริกหนุ่ม ในงานเลี้ยงแบบขันโตกดินเนอร์ เพื่อต้อนรับนักท่องเที่ยวผู้มาเยือนดินแดนถิ่นไทยงาม หากขาดซึ่งน้ำพริกอ่องแล้ว นั่นถือว่าเป็นข้อบกพร่องอันใหญ่หลวงจนมิน่าจะให้อภัยเป็นอย่างยิ่ง
น้ำพริกอ่องมีเครื่องปรุงหลัก ๆ ดังนี้ เนื้อหมูสับ พริกแห้ง กระเทียม หอม มะเขือเทศ เกลือ ปลาร้า ( อาจใส่หรือไม่ก็ได้ ) ถั่วเน่าแข็บ ( ถั่วเหลืองหมักทำเป็นแผ่นตากแห้ง หากไม่มีใส่เต้าเจี้ยวแทนได้ ) กะปิ ( ใส่หรือไม่ก็ได้ ) รากผักชี ผักชี ต้นหอมหั่น น้ำมันหมู
ขั้นตอนการทำ
เริ่มจากนำพริกแห้ง ( จะให้ดีควรแช่น้ำเปล่าทิ้งไว้ซักระยะหนึ่งก่อน ) หอม กระเทียม เกลือ และรากผักชีโขลกพร้อมกัน เมื่อแหลกดีแล้วเอากะปิ ปลาร้า และถั่วเน่าแข็บซึ่งย่างไฟแล้ว หรือเต้าเจี้ยวใส่ลงไปโขลกให้เข้ากัน ส่วนเนื้อหมูสับให้ละเอียด มะเขือเทศหั่น หรือใส่ครกบด ตั้งกระทะใส่น้ำมันพอสมควร เอากระเทียมลงเจียวพอหอมแล้วเอาน้ำพริกลงผัด ใส่เนื้อหมู และมะเขือเทศตามลำดับ พอเนื้อหมู และมะเขือเทศเริ่มสุก เติมน้ำพอสมควร เคี่ยวจนงวด ปรุงรสตามใจชอบแล้วยกลง นำผักชี ต้นหอม หั่นโรยหน้า
บางสูตรจะเอาหมูลงผัดก่อนแล้วจึงตามด้วยเครื่องปรุงและมะเขือเทศโขลกให้เข้ากันดีก่อนแล้วค่อยนำไปผัดในน้ำมัน
บางสูตรก็ย่างพริกแห้งให้หอมก่อนโขลกรวมกับเครื่องแกงอื่น ๆ
ลักษณะเด่นของน้ำพริกอ่อง
มีสีส้มของสีมะเขือเทศ และพริกแห้ง เคี่ยวจนเป็นน้ำขลุกขลิก มีน้ำมันลอยหน้าเล็กน้อย
มีสามรส คือ เปรี้ยว เค็ม เผ็ดเล็กน้อย และรสหวานตาม ในการรับประทานน้ำพริกอ่องจะนิยมใช้ผักจิ้ม เช่น มะเขือเปราะ ถัวฝักยาว ผักกาดขาว ต้นหอม ผักชี ถั่วพู กะหล่ำปลี แตงกวา จะนึ่งจะลวกหรือกินสดก็ได้ หากมีแคบหมูมากินด้วยก็ยิ่งอร่อยเพิ่มรสชาติให้สมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น
ปัจจุบันน้ำพริกอ่องได้รับการพัฒนาและปรับปรุงให้มีรสชาติที่แตกต่างกันออกไป แล้วแต่ประสบการณ์ความชำนาญของผู้ปรุง
ผู้เขียนเคยมีโอกาสได้ลิ้มลองสัมผัสกับรสชาติของน้ำพริกอ่องในห้องอาหารตามโรงแรมหรู หลายแห่งในจังหวัดเชียงใหม่ จนเกิดความรู้สึกทึ่งในความคิดสร้างสรรค์ของหัวหน้าพ่อครัวห้องอาหารนั้น ๆ
บางร้านจะเน้นความสำคัญกับปริมาณหมูสับมาก เมื่อรับประทานเข้าไปแล้ว
นึกยังไงก็นึกไม่ออกเลยว่า นี่คือน้ำพริกชนิดหนึ่งของคนล้านนา เพราะมีรสคล้ายคลึงกับหลนอะไรซักอย่าง บางรายรสชาติมีส่วนคล้ายกับน้ำราดสปาเก็ตตี้ของชาวอิตาเลี่ยนตอนใต้ บ้างก็มีไข่เจียวหั่นเป็นฝอยประดับอยู่บนส่วนหน้าของน้ำพริก แม้กระทั่งเนื้อลำไย ลิ้นจี่ และ องุ่นก็ยังเคยเจอ
หากมองโลกในแง่ดีก็จะเห็นว่าผู้ปรุงนับเป็นศิลปินผู้มีจินตนาการอันบรรเจิด ต้องการจะต่อยอดภูมิปัญญาล้านนาโบราณ คงไม่มีใครตั้งใจจะทำลายรสชาติของแท้และดั้งเดิม อันเป็นเอกลักษณ์สืบเนื่องติดต่อกันมาช้านานหลายชั่วอายุคนอย่างไรก็ตามน้ำพริกอ่องยังคงครองความเป็นอาหารยอดนิยมของคนล้านนามาแต่อดีตตราบจนถึงปัจจุบัน



โครงงานบูรณาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
และการสืบค้นภูมิปัญญาท้องถิ่นในเขตอำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา
 
โครงงาน  เรื่อง  น้ำพริกอ่อง  เลิศรส
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5  กลุ่มที่ 22/45
ภาคเรียนที่  1      ปีการศึกษา 2555
 
กลุ่มผู้ศึกษา
            1.   นาย ดลวิทย์   ช่างเก่ง                          ชั้น ม.4/5   เลขที่ 3
            2.   นาย กวินกุน   หว่ากลาง                     ชั้น ม.4/5   เลขที่ 6
            3.   นางสาว ชนิษรา   เชยอารมณ์              ชั้น ม.4/5   เลขที่ 9
            4.   นางสาว จุฑามาศ   สะมุล                   ชั้น ม.4/5   เลขที่ 34
            5.   นางสาว ลีลาวดี   เผยกลาง                             ชั้น ม.4/5   เลขที่ 36
            6.   นางสาว วรดา   หมายเกี่ยวกลาง         ชั้น ม.4/5   เลขที่ 37
            7.   นางสาว เจนจิรา   จินดากลาง             ชั้น ม.4/5   เลขที่ 44
            8.   นางสาว สโรชา   พลวงนอก               ชั้น ม.4/5   เลขที่ 48
            9.   นางสาว สุภาวดี   ชนทองหลาง          ชั้น ม.4/5   เลขที่ 51
            10. นางสาว ฐิติมา   พูนศรี                         ชั้น ม.4/5  เลขที่ 53
            11. นางสาว ญาสุมินทร์   เทียมทองหลาง   ชั้น ม.4/5  เลขที่ 54
 
เสนอ
คณะกรรมการบูรณาการระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
โรงเรียนโนนสูงศรีธานี
อำเภอโนนสูง        จังหวัดนครราชสีมา
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31
                                                                    
(ก)
     คำนำ
 
                        กลุ่มผู้ศึกษาได้ดำเนินการจัดทำโครงงานบูรณาการ เรื่อง น้ำพริกอ่อง   เลิศรส
ในหน่วยบูรณาการ น้ำพริกสารพัดนึก” ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4   โดยกลุ่มผู้ศึกษาได้ร่วมกันสืบค้นข้อมูลในการจัดทำโครงงาน  จากชุมชน/หมู่บ้าน ชื่อภูมิปัญญาที่สอบถามข้อมูลคือ นาง หวาน   ปล้องงูเหลือม ตั้งอยู่บ้านเลขที่  26  หมู่บ้าน บัว 2  ตำบล โนนสูง ในเขตอำเภอโนนสูง  จังหวัดนครราชสีมา   โครงงานนี้ประสบผลสำเร็จในการดำเนินงานด้วยดี โดยความร่วมกันของผู้จัดทำโครงงานภายในกลุ่ม  และมีผู้ให้คำปรึกษาในการจัดทำโครงงานประกอบด้วย คณะกรรมการบูรณาการระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4  
และ โครงงานนี้กลุ่มผู้ศึกษาหวังว่าจะเกิดประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจโดยทั่วไป
 
                                                                                                กลุ่มผู้ศึกษา
                                                                        กลุ่มที่ 22/44 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5
                                                                                       โรงเรียนโนนสูงศรีธานี
                                                                                              4 กันยายน 2555

 
                                                (ข)
สารบัญ
 
                        เรื่อง                                                                                                           หน้า
 
            คำนำ                                                                                                                                     สารบัญ                                                                                                                                  บทคัดย่อ                                                                                                                    
            บทที่ 1  บทนำ                                                                                                             1
            บทที่  2  เอกสารที่เกี่ยวข้อง                                                                                        3
            บทที่  3  วิธีการดำเนินงาน                                                                                          7
            บทที่  4   ผลการศึกษา                                                                                                 9
            บทที่  5   สรุปผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ                                                                        16
            ภาคผนวก                                                                                                                    18
                        - รายชื่อครูที่เป็นคณะกรรมการระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4                             19
                        -  รูปการจัดกิจกรรม                                                                                       20
 
 
                        (ค)
                                                                        บทคัดย่อ
โครงงานเรื่อง              น้ำพริกอ่อง   เลิศรส
ชื่อหน่วยบูรณาการ      “ น้ำพริกสารพัดนึก ”
กลุ่มผู้ศึกษา                 กลุ่มที่ 22/44 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 
                                    โรงเรียนโนนสูงศรีธานี   อำเภอโนนสูง  จังหวัดนครราชสีมา
เวลาที่ดำเนินการ         ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
--------------*************--------------
โครงงานบูรณาการ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้  และการสืบค้นภูมิปัญญาท้องถิ่น
ในเขตอำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา  เรื่อง  น้ำพริกอ่อง   เลิศรส  ของกลุ่มที่ 22/45           ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5  ได้ดำเนินการจัดทำโครงงานบูรณาการ
มีวัตถุประสงค์คือ   1.  เพื่อศึกษา (ชื่อโครงงาน)  น้ำพริกอ่อง   เลิศรส
ในเขตอำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา  และ  2.  เพื่อศึกษาความพึงพอใจใน (ชื่อโครงงาน)
น้ำพริกอ่อง   เลิศรส  ในเขตอำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา   การดำเนินงานนี้
ผู้ศึกษา โดยกลุ่มได้มีขั้นตอนการดำเนินงานคือ  รวมกลุ่มกันดำเนินงาน  สืบค้นข้อมูลจากชุมชน
หรือปราชญ์ชุมชนชื่อ นาง หวาน   ปล้องงูเหลือม บ้าน บัว 2
อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา จากนั้นนำมาเสนอในวันกิจกรรมบูรณาการของโรงเรียน โดยนำเสนอด้วยวาจา นำเสนอในรูปของเอกสาร และ แผ่นพับและผลิตภัณฑ์
มีผู้ประเมินผลประกอบด้วย นักเรียนประเมินด้วยตนเองในส่วนของกระบวนการทำงาน
ผู้ปกครองประเมินในส่วนของคุณธรรมจริยธรรม และครูในส่วนของด้านความรู้
มีผลการศึกษา พบว่า
1.            (ชื่อโครงงาน)  น้ำพริกอ่อง   เลิศรส  ในเขตอำเภอโนนสูงจังหวัดนครราชสีมา  มีขั้นตอนจัดทำ ดังนี้  1. นำมะเขือเทศมาล้างให้สะอาด หั่นเป็นสี่ส่วน แล้วนำไปใส่ในครกรวมกับน้ำพริกแกงเผ็ด
2. โขลกมะเขือเทศกับน้ำพริกแกงเผ็ดให้เข้ากันพอหยาบ
3. เปิดเตาที่ไฟปานกลาง นำน้ำมันใส่ลงในหม้อ รอจนน้ำมันเริ่มร้อนก็ใส่น้ำพริกที่โขลกไว้ลงไป ผัดซักพักจนเริ่มหอมก็ใส่หมูสับลงไป
4. ผัดหมูสับให้เข้ากับน้ำพริกจนหมูสับสุก ก็ปรุงรสด้วยเครื่องปรุงต่างๆ                                                                                                                                   
 
 (ง)
 
2.            ความพึงพอใจในการดำเนินงานมีความพึงพอใจระดับ  มากที่สุด
(มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด)
                        ข้อค้นพบใหม่ที่นักเรียนได้รับจากการศึกษาโครงงานนี้คือ ได้รับความรู้เรื่องของน้ำพริกในสมัยโบราณจนถึงปัจจุบันว่ามีความเป็นมาอย่างไร และก็ได้รับความสามัคคีจากคณะกลุ่ม  และได้รับความร่วมมือจากภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วย
(เป็นข้อมูลที่นักเรียนไม่เคยได้รับรู้มาก่อน ให้บันทึกตามจริง)
 
 (1)
 
บทที่ 1
บทนำ
 
1.   ความสำคัญและเหตุผลในการจัดทำโครงงาน
      เพื่อเป็นความรู้และประสบการณ์ในการดำเนินงาน และในการหาความรู้เรื่องน้ำพริกและความสามัคคีในหมู่คณะ เพื่อนำในใช้ในการดำเนินชีวิต  และจะได้มีความรู้ความเข้าใจในการทำงานและการมีความรู้ความสามารถเพื่อที่จะได้มีการแสดงออกมากขึ้นและจะได้รู้ถึงปัญหาในการดำเนินงานและจะได้เป็นคนที่มีความสามารถในการแก้ปัญหาเฉพะหน้าเพื่อที่จะได้เป็นคนที่มีปฏิญาณไหวพริบในการจัดทำและการแก้ปัญหา 
 
2.  วัตถุประสงค์
2.1  เพื่อศึกษา (ชื่อโครงงาน)  น้ำพริกอ่อง เลิศรส
ในเขตอำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา
            2.2   เพื่อศึกษาความพึงพอใจใน (ชื่อโครงงาน)  น้ำพริกอ่อง เลิศรส
ในเขตอำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา  
 
3.   เป้าหมายของการศึกษา
            3.1  ศึกษาเกี่ยวกับ (ชื่อโครงงาน)   น้ำพริกอ่อง  เลิศรส                                                      มีรายละเอียดที่ศึกษาประกอบด้วย ส่วนประกอบ  วิธีทำ   ประวัติความเป็นมาของน้าพริก
            3.2 ระยะเวลาที่ทำการศึกษา
                   ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
            3.3  สถานที่ดำเนินงาน
                    3.3.1  ดำเนินงานศึกษาหาความรู้จาก (ชื่อและสถานที่ดำเนินการจริง)         
26   บ้านบัว 2  ตำบลโนนสูง     อำเภอโนนสูง    จังหวัด นครราชสีมา  
 
                                                                        (2)
                    3.3.2  นำเสนอโครงงาน ที่โรงเรียนโนนสูงศรีธานี อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา
                       
4.  ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
            4.1   ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ (ชื่อโครงงาน)  น้ำพริกอ่อง เลิศรส
            4.2   ผู้ศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทำโครงงานบูรณาการ
            4.3   ผู้ศึกษาสามารถนำความรู้เกี่ยวกับการจัดทำโครงงานไปเป็นแนวทางการศึกษาในรายวิชาต่าง ๆ หรือประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
 
(3)
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
            การศึกษาเกี่ยวกับ (ชื่อโครงงาน) น้ำพริกอ่อง  เลิศรส                                                     กลุ่มผู้ศึกษา ได้ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำโครงงานดังนี้ โดยมีข้อมูลที่ครูสอนในวิชาที่บูรณาการจำนวน 8 วิชา  โดยสรุปดังนี้
1.            วิชาคณิตศาสตร์
เซต
ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อ เกออร์ก คันทอร์     (Georg Cantor) เป็นผู้เริ่มใช้คำว่า “เซต” จากนั้นนักตณิตศาสตร์จึงใช้คำนี้กันอย่างแพร่หลาย โดยความรู้ในเรื่องเซตสามารถนำมาเชื่อมโยงเนื้อหาในคณิตศาสตร์หลายๆเรื่อง เช่น ฟังก์ชั่น  ความน่าจะเป็น
1.1  เซต (Sets)
   ในวิชาคณิตศาสตร์ ใช้คำว่า “เซต” ในการกล่าวถึงกลุ่มของสิงต่างๆ  และเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใดแล้วสามารถทราบได้แน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม และสิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม   เช่น
เซตของชื่อวันในสัปดาห์
เซตของคำตอบของสมาการ x² - 4 = 0
เรียก สิ่งที่อยู่ในเซต ว่า สมาชิก (elements)  เช่น
เซตของชื่อวันในสัปดาห์  มีสมาชิกได้แก่  จันทร์  อังคาร  พุธ  พฤหัสบดี  ศุกร์  เสาร์  และอาทิตย์
เซตของคำตอบของสมาการ x² - 4 = 0  มีสมาชิกได้แก่  - 2  และ 2
 
(4)
3.            วิทยาศาสตร์      
 
         น้ำพริกอ่อง เลิศรส                                                           ส่วนผสม
1.เนื้อหมูสับ 1/2 กก
2. มะเขือเทศสีดา 15 ลูก
3. ผักชี ต้นหอมอย่างล่ะ 2 ต้น
4. น้ำปลา 3 ช้อนโต๊ะ
5. น้ำตาลมะพร้าว 2 ช้อนโต๊ะ
6. น้ำมันสำหรับผัด 4 ช้อนโต๊ะ
วิธีทำ
1. นำมะเขือเทศมาล้างให้สะอาด หั่นเป็นสี่ส่วน แล้วนำไปใส่ในครกรวมกับน้ำพริกแกงเผ็ด
2. โขลกมะเขือเทศกับน้ำพริกแกงเผ็ดให้เข้ากันพอหยาบ
3. เปิดเตาที่ไฟปานกลาง นำน้ำมันใส่ลงในหม้อ รอจนน้ำมันเริ่มร้อนก็ใส่น้ำพริกที่โขลกไว้ลงไป ผัดซักพักจนเริ่มหอมก็ใส่หมูสับลงไป
4. ผัดหมูสับให้เข้ากับน้ำพริกจนหมูสับสุก ก็ปรุงรสด้วยเครื่องปรุงต่างๆ คือ ซีอิ้วขาว (หรือน้ำปลา) น้ำตาลปี๊บ และน้ำมะขามเปียกเข้มข้น คนให้เครื่องปรุงทั้งหมดเข้ากัน ชิมรสตามชอบ จากนั้นก็ปิดเตาและยกลงได้
5. ตักใส่ถ้วย จากนั้นก็ยกเสิร์ฟ

(5)
4.            วิชาสังคมศึกษา
ประเพณีพื้นบ้าน
              น้ำพริกอ่องเป็นอาหารภาคเหนือที่คนทั่วไปติดใจในรสชาติเช่นเดียวกับอาหารชนิดอื่น การปรุงน้ำพริกอ่องนี้รูปแบบจะต่างไปจากน้ำพริกทั่วไป คือ น้ำพริกอ่องจะมีหมูสับเป็นส่วนประกอบคล้ายกับน้ำพริกมะขามหรือน้ำพริกลงเรือของภาคกลาง การปรุงน้ำพริกอ่องจะไม่ใช้น้ำตาล รสหวานจะได้จากความหวานของมะเขือเทศ ส่วนรสเปรี้ยวนั้นได้จากมะเขือส้ม คือมะเขือเทศผลเล็กชนิดพวง ซึ่งจะมีรสเปรี้ยวกว่ามะเขือเทศโดยทั่วไป นอกจากนั้นจะใช้ถั่วเน่า คือ ถั่วเหลืองที่เอามาหมักแล้วทำเป็นแผ่นตากแดดให้แห้งใช้แทนกะปิ หรือถ้าไม่มีถั่วเน่าก็จะใช้กะปิ 1 ช้อนชาแทน หรือใช้เต้าเจี้ยวดำสัก 3 ช้อนโต๊ะ ล้างน้ำให้หายเค็มแทนก็ได้เช่นกัน
น้ำพริกอ่อง
         ลักษณะของน้ำพริกอ่อง ต้องมีความข้น และไม่แห้ง จะมีรสชาติเผ็ดเปรี้ยว หวานกลมกลืนกัน แต่ไม่นิยมปรุงความหวานจากน้ำตาล เพราะน้ำพริกอ่องมีส่วนผสมของหมูติดมัน ถ้าใส่น้ำตาลลงไปจะทำให้เลี่ยน นิยมความหวานจากธรรมชาติของมะเขือสับ และปรุงรสเปรี้ยวด้วยมะเขือเทศกับน้ำส้มมะขามเปียก

(6)
6.ภาษาไทย                การเขียนเรียงความมี3ย่อหน้า                                                                                               1.คำนำหมายถึง  เป็นส่วนแรกของเรียงความ ทำหน้าที่เปิดประเด็น ดึงดูดความสนใจ พิถีพิถัน คำนึงถึงเรื่องที่ตนจะเขียน เน้นศิลปะในการใช้ภาษา    การเขียนคำนำ ควรยึดแนวทางต่อไปนี้
§  ไม่ยืดยาด เยิ่นเย้อ
§  ไม่ควรกล่าวถึงสิ่งที่ไม่เกี่ยวกับเนื้อเรื่อง
§  ไม่ควรซ้ำกับส่วนสรุปหรือความลงท้าย
§  อาจหาคำคม สำนวน สุภาษิต หรือบทกวีที่ไพเราะและเกี่ยวกับเนื้อเรื่องมาเป็นคำนำก็ได้
2.เนื้อเรื่องหมายถึง เป็นส่วนสำคัญและยาวที่สุดของเรียงความ ประกอบด้วย ความรู้ ความคิด และข้อมูลที่ผู้เขียนค้นคว้า และเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ ระเบียบ การเขียนเนื้อเรื่องเป็นการขยายความในประเด็นต่าง ๆ ตามโครงเรื่องที่วางไว้ล่วงหน้าแล้ว ในการเขียนอาจมีการยกตัวอย่าง การอธิบาย การพรรณนา หรือยกโวหารต่าง ๆ มาประกอบด้วย โดยอาจจะมีย่อหน้าหลายย่อหน้าก็ได้
การเขียนเนื้อเรื่องควรยึดแนวทางต่อไปนี้
§  ความถูกต้อง แจ่มแจ้งสมบูรณ์ ผู้อ่านสามารถเข้าใจเจตนารมณ์ของผู้เขียนได้เป็นอย่างดี ซึ่งเรียกว่ามีสารัตถภาพ
§  ใจความสำคัญแต่ละย่อหน้า จะต้องมีเพียงใจความเดียว ไม่ออกนอกเรื่อง สับสน วกวน ซึ่งเรียกว่ามีเอกภาพ
§  เนื้อหาในแต่ละย่อหน้าจะต้องมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันโดยตลอด ย่อหน้าที่มาหลังจะต้องเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กับย่อหน้าที่มาก่อน ซึ่งเรียกว่ามีสัมพันธภาพ
3.สรุปหมายถึง  เป็นส่วนสุดท้าย หรือย่อหน้าสุดท้ายในเรียงความแต่ละเรื่อง ผู้เขียนจะทิ้งท้ายให้ผู้อ่านเกิดความประทับใจ สอดคล้องกับเรื่องที่เขียน กระชับรัดกุม ซึ่งการเขียนสรุปมีหลายวิธี เช่น ฝากข้อคิด และความประทับใจให้ผู้อ่านย้ำความคิดสำคัญของเรื่อง ชักชวนให้ปฏิบัติตาม ให้กำลังใจแก่ผู้อ่าน ตั้งคำถามที่ชวนให้ผผู้อ่านคิดหาคำตอบ และยกคำพูด คำคม สุภาษิต หรือบทกวีที่น่าประทับใจ เป็นต้น การเขียนสรุปควรยึดแนวทางต่อไปนี้
§  เขียนสั้น ๆ ไม่เยิ่นเย้อ (ความยาวควรจะเท่า ๆ กับคำนำ)
§  อาจสรุปโดยการอ้อนวอน เชิญชวนหรือแสดงความคิดเห็น
§  ควรหลีกเลี่ยงคำขออภัย หรือคำออกตัวว่าผู้เขียนไม่มีความรู้
§  ไม่ควรเสนอประเด็นใหม่เข้ามาอีก
 
 
(7)
5.   วิชาภาษาอังกฤษ
Garnish
- 250 g minced pork.
- 2 tablespoons red curry paste.
- Tomatoes 20 small balls.
- Soy sauce (or fish sauce) 1 tbsp.
- Sugar is 2 ½ tbsp.
- Concentrated tamarind juice 1 tsp.
- 2 tablespoons vegetable oil.

Ingredient
One. Pork chops ½ kg.
Two. Tomato color 15 balls.
Three. Celery and onion for 2 trees.
4th. Sauce 3 tbsp.
Five. Coconut 2 tablespoons sugar.
6. 4 tablespoons oil for stir-fry.
Curry paste mixture.
One. Dried 10 tablets.
Two. Shallots, chopped 4 tbsp.
Three. Garlic, minced 4 tablespoons.
4th. Coriander root root 5.
Five. Paste 1 tsp.
6., Salt, 1 tsp.
(Pound everything together thoroughly).

How do
One. Tomato juice to wash it thoroughly. Cut into four parts. I put in a mortar with curry sauce.
Two. Pounded chilli, tomato paste and mix well with enough rough.

Three. Preheat to medium heat. Put oil in a pot. Wait until the oil is hot, add the pounded them into a paste. Stir until onion is awhile to pork chops.

4th. Fried pork chops to the sauce, until pork is cooked. It is seasoned with spices and soy sauce (or fish sauce), palm sugar and tamarind juice concentrate. All the ingredients together to taste like, then turn off the stove and put down.


Five. Dip bowl, then serve with fresh vegetables such as beans, cucumbers, lettuce and forums.
(8)
 
6.   วิชาศิลปะ   การประดิษฐ์ท่ารำในการแสดงนาฏศิลป์
   การประดิษฐ์ท่ารำ    ในการแสดงนาฏศิลป์    มีหลากหลายประการซึ่งจะต้องนำมาพิจารณาประกอบ ได้แก่  ประเภทของการแสดง ดนตรี บทร้อง  เครื่องแต่งกาย  อารมณ์ ความรู้สึก แลการเคลื่อนไหวของผู้แสดง  ทั้งนี้เพื่อให้ประดิษฐ์ท่ารำมีความความประณีต  สวยงาม  สื่อความหมายได้ชัดเจน มีความสัมพันธ์สอดคล้องกันทั้งท่ารำ ทำนอง จังหวะของเพลง และเครื่องแต่งกายเหมาะสมกับชุดการแสดง ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึง แนวทางในการประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นคู่ และเป็นหมู่
3.1การประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นคู่
   การประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นคู่  ผู้ประดิษฐ์จะต้องคำนึงถึงส่วนประกอบที่สำคัญ คือ จังหวะ บทร้อง และเครื่องแต่งกาย   ซึ่งส่วนประกอบเหล่านี้  ผู้ประดิษฐ์ท่ารำต้องนำมาหลอมรวมให้มีความเป็นเอกภาพ
     ความเป็นเอกภาพในการประดิษฐ์ท่ารำ การนำองค์ประกอบต่างๆ อาทิ ดนตรี จังหวะ บทร้อง และการเครื่องการแต่งกาย ทุกส่วนต้องสามารถเชื่อมโยงกันได้  เพื่อสร้างให้เกิดความกลมกลืนไม่ควรมีความแตกต่างในองค์ประกอบอย่างมากมาย   จนทำให้การประดิษฐ์ท่ารำในชุดนั้นขาดความเป็นเอกภาพ  การประดิษฐ์ท่ารำมี่เป็นคู่    มีแนวดังนี้
     1) การประดิษฐ์ท่ารำแนวอนุรักษ์      ส่วนมากจะใช้ท่ารำที่เป็นแบบแผนมาตั้งแต่ดั้งเดิม  คือ เพลงช้า-เพลงเร็ว   ท่ารำในกลอนตำรารำนั้นเป็นการตีความหมายตามบทร้อง  และทำนองเพลง
     2) การประดิษฐ์ท่ารำแนวคิดสร้างสรรค์    จะเป็นการประดิษฐ์ท่ารำขึ้นใหม่  โดยได้แนวคิดมาจากการรับอิทธิพลของต่างประเทศทั้งตะวันออกและตะวันตก
การประดิษฐ์ท่ารำให้กับผู้รำที่เป็นคู่   ผู้ประดิษฐ์ท่ารำจะต้องคำนึกถึกสิ่งดังต่อไปนี้
(1)            รูปแบบ การรำที่เป็นคู่ หมายถึง การรำเพียง ๒ คน  แต่โบราณมานิยมรำในการเบิกโรง คือ ก่อนการแสดงละครใน เช่น รำประเลง รำกิ่งไม้เงิน  หรือเป็นการรำที่ตัดตอนมาจากละเรื่องใหญ่ เช่น พระรามตามกวาง  พระลอตามไก่  เมขลา-รามสูร รจนาเสี่ยงพวงมาลัย  เป็นต้น
ผู้ประดิษฐ์ท่ารำต้องกำหนดรูปแบบการรำเป็นคู่ให้ชัดเจน  เช่น คู่ชาย-หญิง คู่พระ-นาง  ชายคู่ –หญิงคู่  เพื่อการประดิษฐ์ท่ารำจะได้สอดสัมพันธ์กับผู้รำ  และการรำคู่ต้องประดิษฐ์ท่ารำให้สอดคล้องกับคู่รำไม่ใช่ต่างคนต่างรำ
 
(9)
 (2)  จังหวะ ทำนองเพลง บทร้อง มีสำคัญในการประดิษฐ์ท่ารำ ดังนี้
   1 ประดิษฐ์ท่ารำให้ตรงกับจังหวะและทำนองของเพลงอย่างกลมกลืน
   2  สำเนียงเพลงของต่างชาติภาษา เช่น ทำนองเพลงสำเนียงแขก ลาว พม่า  มอญ เป็นต้น การประดิษฐ์ท่ารำลีลาของชาตินั้นๆมาใส่ให้กลมกลืนกับท่ารำของนาฏศิลป์ไทยประดิษฐ์ขึ้นด้วย
      3 ถ้าเป็นเพลงที่มีบทร้อง     ต้องตีความหมายว่า  ตัวเรา”  ต้องคำนึงถึงจารีตในการปฏิบัติเป็นท่าบังคับที่ใช้เฉพาะมือซ้ายจีบเข้าอกเท่านั้น
(3) เครื่องแต่งกาย  เป็นองค์ประกอบสำคัญในการประดิษฐ์ท่ารำ   ดังที่อาจารย์พนิดา สิทธิวรรณ  ผู้อำนวยการกองสังคีต  กรมศิลปากร  ให้แนวคิดไว้ว่า เพลงดี เครื่องแต่งกายงามจะส่งผลให้ท่ารำจะส่งผลให้ท่ารำงามตามไปด้วย”
            ถ้าเป็นการรำคู่   นอกจากจะเป็นการอวดฝีมือรำแล้ว  ควรจะอวดเครื่องแต่งกายเพราะท่ารำจะงามต้องอาศัยเครื่องแต่งกายงามด้วย    การประดิษฐ์เครื่องแต่งกายจะยึดท่ารำเป็นหลัก และแต่งกายตามรูปแบบลักษณะของชุดการแสดง เช่น ถ้าเป็นการรำในแนวอนุรักษ์ส่วนมากจะแต่งยืนเครื่องพระ-นาง  หรือถ้าเป็นการรำที่เป็นนางทั้งคู่   จะแต่งกายแบบนางใน
     เรื่องสีของเครื่องแต่งกายที่เป็นการรำคู่ต้องเลือกให้เหมาะสม  เช่น สีเขียวคู่กับ สีแดง หรือสีเดียวกันทั้งคู่  ก็จะทำให้เครื่องแต่งกายดูโดดเด่น  เป็นต้น
        เครื่องกายต้องออกแบบให้สอดสัมพันธ์กับท่ารำ  รูปแบบของการแสดง และบุคลิกของผู้รำ
3.2    การประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นหมู่
           การประดิษฐ์ท่ารำที่หมู่    ได้แก่  ระบำ   รำ ฟ้อน  ที่มีผู้รำจำนวนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปโดยไม่กัดจำนวนผู้รำ   เอกลักษณ์และความโดดเด่นอยู่ที่ความพร้อมเพรียง  และความงดงามในการแปรแถว
        ข้อคำนึงในการประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นหมู่   อาจารย์  ศุขะวณิช  ศิลปินแห่งชาติ  สาขา ศิลปะการแสดง  ให้แนวคิดไว้ดังนี้ คือ
การแปรแถวการแสดงนาฏศิลป์ไทยสมัยโบราณไม่นิยมแปรแถวให้หลากหลายเหมือนในปัจจุบันนิยม  มักจะนิยมแถวตรง  แถวเรียงเดี่ยวหน้ากระดาน  หรือแถวตอนคู่  หรือ ลักษณะวงกลม  โดยประดิษฐ์ท่ารำให้เหมือนกัน  ปัจจุบันได้รับอิทธิพลการแสดงของต่างประเทศจึงนำมาประดิษฐ์ท่ารำไทยให้มีการแปรแถว ตั้งซุ้ม ซึ่งผู้ประดิษฐ์ท่ารำจะต้องคำนึงถึงความกลมกลืนเป็นหลักด้วย
 
(10)
        (2) ท่ารำต้องสัมพันธ์กับเพลง  การคิดประดิษฐ์ท่ารำจะต้องใช้วิธีฟังเพลงก่อน แล้วจึงคิดรำให้กลมกลืนไปบทร้อง  และท่วงทำนองของเพลงนั้นๆส่วนเครื่องแต่งกายจะยึดท่ารำเป็นหลักในการออกแบบ  การเลือกสี ส่วนมากการแสดงที่เป็นหมู่จะแต่งกายแบบเดียวกัน
      (3) ท่ารำเป็นหมู่คณะ   การประดิษฐ์ท่ารำที่มีลักษณะการรำเป็นหมู่คณะ  ใช้ผู้แสดงจำนวนมาก  จะต้องคำนึงถึงความพร้อมเพรียงเป็นหลัก   ไม่ให้ความสำคัญแก่ท่ารำมากนัก
        (4)ท่ารำที่มีบทร้อง  การประดิษฐ์ท่ารำที่มีบทร้อง  ยึดความหมายของบทร้องเป็นหลักในการประดิษฐ์ท่ารำให้ถูกต้องตามความหมายของบทร้อง
        (5) ท่ารำที่มีแต่ทำนองเพลง  การประดิษฐ์ท่ารำที่ไม่มีบทร้องแต่ทำนองเพลง   ให้ยึดทวงทำนองของเพลงที่บรรเลง  เช่น   อารมณ์เพลงที่แสดงถึงความรัก   ความโกรธ   ความตื่นเต้น  คึกคัก   สนุกสนาน  เป็นต้น
           ถ้าเป็นการบรรเลงตลอดทั้งเพลง   การแปลแถว   จะต้องลงให้พอดีกับจังหวะใหญ่ของทำนองเพลง  เช่น  ทำนองเพลงลายนี้มี ๘  จังหวะ  แล้วซอยออกมา    จังหวะ  เพราะฉะนั้น  จังหวะที่     และจังหวะที่     นั้นคือลีลา   เพื่อไปลงในจังหวะที่     แล้วเว้นช่องไปลงจังหวะที่    ก็ได้
                 (6) ท่ารำนาฏศิลป์พื้นเมือง   การประดิษฐ์ท่ารำนาฏศิลป์พื้นเมือง  ต้องยึดหลักลีลาท่ารำเฉพาะถิ่นทั้ง     ภาค   คือ   ภาคเหนือ   ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ   ภาคกลาง     และภาคใต้   สิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติเป็นอย่างยิ่งก็คือ  นำท่ารำของแต่ละภาคมาปะปนกัน  แบบหัวมังกุท้ายมังกรขาดความเป็นเอกภาพ เช่น  ตั้งชื่อชุดการแสดงว่า  ฟ้อน  แต่ท่ารำเป็นของภาคกลางแต่งกายแบบอีสาน  เพลงดนตรีเป็นของภาคใต้  อย่างนี้ไม่ควรปฏิบัติ  เป็นต้น
                     (7) ท่ารำต้องสอดคล้องกับรสนิยม การประดิษฐ์ท่ารำ  ควรให้ตรงกับรสนิยมของสังคมในสมัยสังคมนั้นๆ             
  
                                   (11)      
            7.   วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา
 
        ใบความรู้ที่  1  เรื่อง อาหาร  5  หมู่

 

 

วิชา  สุขศึกษาและพลศึกษา                           รหัส  33101                                               ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4       

จำนวน   2  ชั่วโมง                                                                                                                               ผู้สอน  นายศิริศักดิ์  ภักดียา
 
อาหาร
                อาหาร คือ สิ่งที่มีประโยชน์เมื่อร่างกายกินเข้าไปก็สามารถย่อย ดูดซึม และนำไปใช้ประโยชน์ได้ดังนั้นในวันหนึ่ง ๆ เราควรกิน อาหารให้ครบ 5 หมู่ ได้แก่
                หมู่ที่ 1
เนื้อสัตว์ ไข่ นม ถั่ว
                หมู่ที่
2
ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน
                หมู่ที่
3
ผักใบเขียวต่าง ๆ
                หมู่ที่
4
ผลไม้ต่าง ๆ
                หมู่ที่
5 ไขมันและน้ำมัน

อาหาร    หมู่ที่ 1 เนื้อ นม ไข่ และถั่วต่าง ๆ
                อาหารหมู่ที่ 1 เนื้อสัตว์ ไข่ นม และถั่วต่าง ๆ อาหารหมู่นี้ส่วนใหญ่จะให้โปรตีน ประโยชน์ที่สำคัญคือ
ทำให้ร่างกายเจริญเติบโต ทำให้ร่างกายแข็งแรง มีภูมิต้านทานโรค นอกจากนี้ยังช่วยซ่อมแซมส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่สึกหรอจากบาดแผล อุบัติเหตุ หรือจากการเจ็บป่วยอาหารหมู่นี้จะถูกนำไปสร้างกระดูก กล้ามเนื้อ เลือด เม็ดเลือด ผิงหนัง น้ำย่อย ฮอร์โมน ตลอดจนภูมิต้านทานเชื้อโรคต่าง ๆ จึงถือได้ว่าอาหารหมูนี้เป็นอาหารหลักที่สำคัญในการสร้างโครงสร้างของร่างกายในการเจริญเติบโต และทำให้อวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายทำงานได้เป็นปกติอาหารในหมู่นี้ ได้แก่ นม ไข่ เนื้อ หมู วัว ตับ ปลา ไก่ และถั่วต่าง ๆ เช่น ถั่วเหลือง ถั่วเขียว หรือผลิภัณฑ์จากถั่ว
เช่น นมถั่วเหลือง เต้าหู้ 
 
(12)
หมู่ที่ 2 ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน
                หมู่ที่ 2 ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน จะให้สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต ซึ่งจะให้พลังงานแก่ร่างกาย


ทำให้ร่างกายสามารถทำงานได้ และยังให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายอีกด้วย พลังงานที่ได้จากหมู่นี้ส่วนใหญ่จะใช้ให้หมดไปวันต่อวัน เช่น ใช้ในการเดิน ทำงาน การออกกำลังกายต่าง ๆ แต่ถ้ากินอาหารหมู่นี้มากจนเกินความต้องการของร่างกาย ก็จะถูกเปลี่ยนเป็นไขมัน และทำให้เกิดโรคอ้วนได้ อาหารที่สำคัญของหมู่นี้ ได้แก่ ข้าว แป้งและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากแป้ง  เช่น ก๋วยเตี๋ยวรวมทั้งเผือก มันต่าง ๆ น้ำตาลที่ทำมาจากอ้อยและมาจากน้ำตาลมะพร้าวอาหารหมู่ที่ 3 ผักต่าง ๆ
                หมู่ที่ 3
อาหารหมู่นี้จะให้วิตามินและเกลือแร่แก่ร่างกาย ช่วยเสริมสร้างทำให้ร่างกายแข็งแรง มีแรงต้าน
ทานเชื้อโรค และช่วยให้อวัยวะต่าง ๆ ทำงานได้อย่างเป็นปกติอาหารที่สำคัญของหมู่นี้ คือ ผักต่าง ๆ เช่น ตำลึง ผักบุ้ง ผักกาด และผักใบเขียวอื่น ๆ นอกจากนั้นยังรวมถึงพืชผักอื่น ๆ เช่น มะเขือ ฟักทอง ถั่วฝักยาว เป็นต้นนอกจากนั้นอาหารหมู่นี้จะมีกากอาหารที่ถูกขับถ่ายออกมาเป็นอุจจาระทำให้ลำไส้ทำงานเป็นปกติ

อาหารหมู่ที่ 4 ผลไม้ต่าง ๆ
                อาหารหมู่ที่
4 ผลไม้ต่าง ๆ จะให้วิตามินและเกลือแร่ ช่วยทำให้ร่างกายแข็งแรง มีแรงต้านทานโรค และมีกากอาหารช่วยทำให้การขับถ่ายของลำไส้เป็นปกติอาหารที่สำคัญ ได้แก่ ผลไม้ต่าง ๆ เช่น กล้วย มะละกอ ส้ม มังคุด ลำไย เป็นต้น
หมู่ที่
5 ไขมันและน้ำมัน
                หมู่ที่ 5 ไขมันและน้ำมัน จะให้สารอาหารประเภทไขมันมาก จะให้พลังงานแก่ร่างกาย ทำให้ร่างกายเจริญเติบโต ร่างกายจะสะสมพลังงานที่ได้จากหมู่นี้ไว้ใต้ผิวหนังตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น บริเวณสะโพก
ต้นขา เป็นต้น ไขมันที่สะสมไว้เหล่านี้จะให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย และให้พลังงานที่สะสมไว้ใช้ในเวลาที่จำเป็นระยะยาวอาหารที่สำคัญ ได้แก่ ไขมันจากสัตว์ เช่น น้ำมันหมู ไขมันที่ได้จากพืช เข่น กะทิมะพร้าว น้ำมันรำ น้ำนมถั่วเหลือง  น้ำมันปาล์ม เป็นต้น นอกจากนั้นจะมีไขมันที่แทรกอยู่ในเนื้อสัตว์ต่าง ๆ
(13)
8.   วิชาการงานและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
              การทำ Bloggre    
 
วิธีการทำน้ำพริกอ่อง
1. นำมะเขือเทศมาล้างให้สะอาด หั่นเป็นสี่ส่วน แล้วนำไปใส่ในครกรวมกับน้ำพริกแกงเผ็ด
2. โขลกมะเขือเทศกับน้ำพริกแกงเผ็ดให้เข้ากันพอหยาบ

3. เปิดเตาที่ไฟปานกลาง นำน้ำมันใส่ลงในหม้อ รอจนน้ำมันเริ่มร้อนก็ใส่น้ำพริกที่โขลกไว้ลงไป ผัดซักพักจนเริ่มหอมก็ใส่หมูสับลงไป

4. ผัดหมูสับให้เข้ากับน้ำพริกจนหมูสับสุก ก็ปรุงรสด้วยเครื่องปรุงต่างๆ คือ ซีอิ้วขาว (หรือน้ำปลา) น้ำตาลปี๊บ และน้ำมะขามเปียกเข้มข้น คนให้เครื่องปรุงทั้งหมดเข้ากัน ชิมรสตามชอบ จากนั้นก็ปิดเตาและยกลงได้

5. ตักใส่ถ้วย จากนั้นก็ยกเสิร์ฟพร้อมผักสดต่างๆ เช่น ถั่วฝักยาว ผักกาดขาว และแตงกวา ได้เลยค่ะ
 
(14)
บทที่ 3
วิธีการดำเนินงาน
 
            การศึกษาเกี่ยวกับ (ชื่อโครงงาน)  น้ำพริกอ่อง  เลิศรส                                                     
กลุ่มผู้ศึกษา ได้กำหนดขั้นตอนในการศึกษาดังนี้
 
1.   ขั้นเตรียมการ
            1.1  จัดทำข้อสอบก่อนเรียน 10 ข้อ
            1.2  ศึกษาและเรียนรู้ในรายวิชาที่ครูผู้สอนได้ร่วมจัดทำหน่วยบูรณาการทั้ง 8 กลุ่มสาระ
            1.3  รวมกลุ่มกันจัดทำโครงงานบูรณาการ ในหน่วยการเรียนรู้
     โดยมีจำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมกลุ่ม 11 คน
ประกอบด้วย
            1.  นาย ดลวิทย์   ช่างเก่ง                           ชั้น ม.4/5   เลขที่ 3
            2.   นาย กวินกุน   หว่ากลาง                     ชั้น ม.4/5   เลขที่ 6
            3.   นางสาว ชนิษรา   เชยอารมณ์              ชั้น ม.4/5   เลขที่ 9
            4.   นางสาว จุฑามาศ   สะมุล                   ชั้น ม.4/5   เลขที่ 34
            5.   นางสาว ลีลาวดี   เผยกลาง                             ชั้น ม.4/5   เลขที่ 36
            6.   นางสาว วรดา   หมายเกี่ยวกลาง         ชั้น ม.4/5   เลขที่ 37
            7.   นางสาว เจนจิรา   จินดากลาง             ชั้น ม.4/5   เลขที่ 44
            8.   นางสาว สโรชา   พลวงนอก               ชั้น ม.4/5   เลขที่ 48
            9.   นางสาว สุภาวดี   ชนทองหลาง          ชั้น ม.4/5   เลขที่ 51
            10. นางสาว ฐิติมา   พูนศรี                         ชั้น ม.4/5  เลขที่ 53
            11. นางสาว ญาสุมินทร์   เทียมทองหลาง   ชั้น ม.4/5  เลขที่ 54 
 
            1.4  ตั้งชื่อโครงงาน เรื่อง น้ำพริกอ่อง  เลิศรส                                                     
 
                                                                                                                                                (15)
2.   ขั้นตอนดำเนินการ
            2.1  สำรวจแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นอำเภอโนนสูง  จังหวัดนครราชสีมา  เกี่ยวกับ
(ชื่อโครงงาน) น้ำพริกอ่อง   เลิศรส
            2.2  ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ (ชื่อโครงงาน) น้ำพริกอ่อง   เลิศรส
            2.3  ฝึกปฏิบัติ/บันทึกข้อมูล/ถ่ายภาพเกี่ยวกับ/(ชื่อโครงงาน) น้ำพริกอ่อง   เลิศรส
            2.4  ประเมินความพึงพอใจ
            2.5  นำข้อมูลมาเขียนรายงาน 5 บท และนำเสนอโครงงาน
 
3.  ขั้นตอนการประเมินผล
            3.1   นักเรียนร่วมกันประเมินผลด้านกระบวนการทำงาน (Process)  5 คะแนน
            3.2   ผู้ปกครองร่วมกันประเมิน ด้านคุณธรรมจริยธรรม (Attitude)   5 คะแนน
            3.3   ครูประเมินผลด้านความรู้   (Knowledge)  10  คะแนน
                        ในวันประเมินผลด้านความรู้ นักเรียนได้นำมาเสนอด้วยวาจาและในรูปของรายงาน 5 บท, แผงโครงงาน แผ่นพับ และ รูปเล่ม  ผลิตภัณฑ์                            
 
                                                                                                                                                (16)
บทที่ 4
ผลการศึกษาและบูรณาการกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
 
            การศึกษาเกี่ยวกับ (ชื่อโครงงาน) น้ำพริกอ่อง   เลิศรส
กลุ่มผู้ศึกษา สรุปผลการศึกษาดังนี้
 
1.   ขั้นตอนจัดทำ  น้ำพริกอ่อง   เลิศรส   มีขั้นตอนดังนี้

ลำดับที่
รายการ
จำนวน
1.
เนื้อหมูสับ
1/2 กก
2.
มะเขือเทศสีดา
15 ลูก
3.
ผักชี ต้นหอมอย่างล่ะ
2 ต้น
4.
น้ำปลา
3 ช้อนโต๊ะ
5.
น้ำตาลมะพร้าว
2 ช้อนโต๊ะ
6.
น้ำมันสำหรับผัด
4 ช้อนโต๊ะ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1. นำมะเขือเทศมาล้างให้สะอาด หั่นเป็นสี่ส่วน แล้วนำไปใส่ในครกรวมกับน้ำพริกแกงเผ็ด
2. โขลกมะเขือเทศกับน้ำพริกแกงเผ็ดให้เข้ากันพอหยาบ
3.เปิดเตาไฟที่ปานกลาง  นำน้ำมันใส่ลงในหม้อ  รอจนน้ำมันเริ่มร้อนก็ใส่น้ำพริกที่โขลกไว้ลงไป ผัดซักจนเริ่มหอมฏ็ใช้หมูสับลงไป
4.ผัดหมูสับให้เข้ากับน้ำพริกจนหมูสับสุกก็ปรุงรสด้วยเครื่องปรุงต่างๆ คือ ซีอิ้ว (หรือ น้ำปลา) น้ำตาลปิ๊บ  และน้ำมะขามเปียกเข้มข้น คนให้เครื่องปรุงทั้งหมดเข้ากัน ชิมรสตามชอบจากนั้นก็ปิดเตาและยกลงได้                                                                                                                                 5.ตักใส่ถ้วย  จากนั้นก็ยกเสริฟ์พร้อมผักสดต่างๆ เช่น ถั่วฝักยาว ผักกาดขาว และแตงกวา ได้เลยค่ะ
 
(17)
2.   ผลการประเมินความพึงพอใจการจัดทำโครงงาน และเป็นการประเมินด้านกระบวนการ
     (P = Process)
            คำชี้แจง กลุ่มนักเรียนร่วมกันประเมิน ใส่เครื่องหมาย   /  ในช่องที่เห็นว่าตรงกับความคิดเห็นของกลุ่มนักเรียน              ระดับ    5         ความพึงพอใจมากที่สุด
                                                ระดับ    4         ความพึงพอใจมาก
                                                ระดับ    3         ความพึงพอใจปานกลาง
                                                ระดับ    2         ความพึงพอใจน้อย
                                                ระดับ    1         ความพึงพอใจ
 
 

ที่
รายการประเมินความพึงพอใจ
ระดับความพึงพอใจ
5
4
3
2
1
1
การรวมกลุ่มของนักเรียน
/
 
 
 
 
2
การร่วมกันสืบค้นข้อมูล
 
/
 
 
 
3
กระบวนการคิดสร้างสรรค์งาน
/
 
 
 
 
4
การแบ่งหน้าที่การทำงานในกลุ่ม
/
 
 
 
 
5
การจัดทำเอกสาร
 
/
 
 
 
รวม (กี่ข้อ)
5
 
 
 
 
ใส่เลขที่ถูกเลือกซ้ำมากที่สุด
3
ความพึงพอใจของเลขที่ถูกเลือกคือ
5
(18)
3.   ผลการประเมินของผู้ปกครอง
            ผลการประเมินด้านคุณธรรมจริยธรรม หรือเจตคติ โดยพิจารณา
จากการตั้งในทำงาน การมีวินัย  ความรับผิดชอบในการทำของนักเรียน
มีผลการประเมินของผู้ปกครอง ดังนี้

ที่
รายการประเมินความพึงพอใจ
ระดับความพึงพอใจ
5
4
3
2
1
1
การตั้งใจทำงาน
/
 
 
 
 
2
การขออนุญาตผู้ปกครองไปทำกิจกรรม
 
/
 
 
 
3
กลับบ้านตรงเวลา
 
/
 
 
 
4
การมีวินัย
/
 
 
 
 
5
ทำกิจกรรมแล้วเก็บสิ่งของให้เรียบร้อย
/
 
 
 
 
รวม (กี่ข้อ)
5
 
 
 
 
ใส่เลขที่ถูกเลือกซ้ำมากที่สุด
3
ความพึงพอใจของเลขที่ถูกเลือกคือ
5
                                                                               
(19)
4.   ผลการบูรณาการจาก 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
      ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานของนักเรียนคือ เรื่อง น้ำพริกอ่อง   เลิศรส
            (ตัวอย่างเช่น ทำขนมครก มีผลลัพธ์ที่เกิดจากขนมครกตามวิชาต่าง ๆ เช่น
-  คณิตศาสตร์
                        ส่วนผสมของขนมครกประกอบด้วย  และมีอัตราส่วนต่าง ๆ
ดังนี้ เป็นต้น
-   ภาษาต่างประเทศ
                        วิธีการทำขนมครก เป็นภาษาอังกฤษ , ส่วนประกอบต่าง ๆเป็นภาษาอังกฤษ
-  ภาษาไทย 
                        เขียนกลอน ชมขนมครก, เขียนความเรียงหรือเรียงความเกี่ยวกับขนมครกที่            
                        ตนเองผลิตขึ้นมา,  
-   การงานอาชีพและเทคโนโลยี
            เขียนวิธีการทำขนมครกเป็นภาษาไทย  ทำแผ่นพับขนมครก, เผยแพร่ผลงานการ 
            ทำขนมครก พร้อมรูปภาพ และ รายงาน 5 บท ใส่ใน blog หรือ รวบรวมลงใน
website โรงเรียน,  การทำกล่องกระดาษใส่ขนมครกติดตาโลโก้ตนเอง
-   วิทยาศาสตร์
                        เขียนสารอาหารที่ได้รับจากขนมครก
-   ศิลปะ 
                   วาดรูปขนมครก หรือจินตนาการเกี่ยวกับขนมครก, การทำโลโก้ขนมครกติดกล่อง
-   สังคมศึกษา
                        ขนมครกใช้ในประเพณีต่าง ๆ อะไรได้บ้าง   ประวัติการทำขนมครก
                        มีใครทำขนมครกบ้างในท้องถิ่นตนเอง
-   สุขศึกษาและพลศึกษา
                        ประโยชน์ของขนมครก 
 
(20)
            4.1   วิชาคณิตศาสตร์
 
เซต
ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อ เกออร์ก คันทอร์     (Georg Cantor) เป็นผู้เริ่มใช้คำว่า “เซต” จากนั้นนักตณิตศาสตร์จึงใช้คำนี้กันอย่างแพร่หลาย โดยความรู้ในเรื่องเซตสามารถนำมาเชื่อมโยงเนื้อหาในคณิตศาสตร์หลายๆเรื่อง เช่น ฟังก์ชั่น  ความน่าจะเป็น
1.1  เซต (Sets)
   ในวิชาคณิตศาสตร์ ใช้คำว่า “เซต” ในการกล่าวถึงกลุ่มของสิงต่างๆ  และเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใดแล้วสามารถทราบได้แน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม และสิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม   เช่น
เซตของชื่อวันในสัปดาห์
เซตของคำตอบของสมาการ x² - 4 = 0
เรียก สิ่งที่อยู่ในเซต ว่า สมาชิก (elements)  เช่น
เซตของชื่อวันในสัปดาห์  มีสมาชิกได้แก่  จันทร์  อังคาร  พุธ  พฤหัสบดี  ศุกร์  เสาร์  และอาทิตย์
เซตของคำตอบของสมาการ x² - 4 = 0  มีสมาชิกได้แก่  - 2  และ 2
 
 
(21)
4.2   วิทยาศาสตร์
 

ชื่อธาตุและสารประกอบ
สูตรทางเคมี
ส่วนผสมที่พบในน้ำพริก
ประโยชน์
สารแคปไซซิน
(capsaicin)
C18H27No3
พริก
เป็นสารที่ช่วยป้องกันความชรา
เซเลเนียม (selenium)
Se
หอมแดง  กระเทียม
เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ
โปรแทสเซียม (Potassium)
K
หอมแดง  กระเทียม
ช่วยให้เซลล์แข็งแรง
 
 
 
 
 
 
 
 
 




โปรตีน
(กรัม) 10. 27
ไขมัน
(กรัม)
8.31
คาร์โบไฮเดรต
(กรัม)
5.03
ใยอาหาร
(กรัม)
1.72
พลังงาน
(กิโลแคลอรี่)
136
แคลเซียม
(มิลลิกรัม)
19.6
ฟอสฟอรัส
(มิลลิกรัม)
130
เหล็ก
(มิลลิกรัม)
1.09
โซเดียม
(มิลลิกรัม)
630
 



จุดเด่นด้านคุณค่าทางโภชนาการของน้ำพริกอ่อง
มีสารอาหารโปรตีน ไขมัน และฟอสฟอรัส
 
(22)
            4.3   วิชาสังคมศึกษา
              น้ำพริกอ่องเป็นอาหารภาคเหนือที่คนทั่วไปติดใจในรสชาติเช่นเดียวกับอาหารชนิดอื่น การปรุงน้ำพริกอ่องนี้รูปแบบจะต่างไปจากน้ำพริกทั่วไป คือ น้ำพริกอ่องจะมีหมูสับเป็นส่วนประกอบคล้ายกับน้ำพริกมะขามหรือน้ำพริกลงเรือของภาคกลาง การปรุงน้ำพริกอ่องจะไม่ใช้น้ำตาล รสหวานจะได้จากความหวานของมะเขือเทศ ส่วนรสเปรี้ยวนั้นได้จากมะเขือส้ม คือมะเขือเทศผลเล็กชนิดพวง ซึ่งจะมีรสเปรี้ยวกว่ามะเขือเทศโดยทั่วไป นอกจากนั้นจะใช้ถั่วเน่า คือ ถั่วเหลืองที่เอามาหมักแล้วทำเป็นแผ่นตากแดดให้แห้งใช้แทนกะปิ หรือถ้าไม่มีถั่วเน่าก็จะใช้กะปิ 1 ช้อนชาแทน หรือใช้เต้าเจี้ยวดำสัก 3 ช้อนโต๊ะ ล้างน้ำให้หายเค็มแทนก็ได้เช่นกัน
น้ำพริกอ่อง
         ลักษณะของน้ำพริกอ่อง ต้องมีความข้น และไม่แห้ง จะมีรสชาติเผ็ดเปรี้ยว หวานกลมกลืนกัน แต่ไม่นิยมปรุงความหวานจากน้ำตาล เพราะน้ำพริกอ่องมีส่วนผสมของหมูติดมัน ถ้าใส่น้ำตาลลงไปจะทำให้เลี่ยน นิยมความหวานจากธรรมชาติของมะเขือสับ และปรุงรสเปรี้ยวด้วยมะเขือเทศกับน้ำส้มมะขามเปียก

(23)
1.4            ภาษาไทย               เรียงความเรื่องน้ำพริกอ่อง
          น้ำพริกอ่องเป็นอาหารภาคเหนือที่คนทั่วไปติดใจในรสชาติเช่นเดียวกับอาหารชนิดอื่น การปรุน้ำพริกอ่องนี้รูปแบบจะต่างไปจากน้ำพริกทั่วไป คือ น้ำพริกอ่องจะมีหมูสับเป็นส่วนประกอบคล้ายกับน้ำพริมะขามหรือน้ำพริกลงเรือของภาคกลาง การปรุงน้ำพริกอ่องจะไม่ใช้น้ำตาล รสหวานจะได้จากความหวานขอมะเขือเทศ ส่วนรสเปรี้ยวนั้นได้จากมะเขือส้ม คือมะเขือเทศผลเล็กชนิดพวง ซึ่งจะมีรสเปรี้ยวกว่ามะเขือเทศโดยทั่วไป น้ำพริกอ่อง
          นับเป็นน้ำพริกล้านนาชนิดหนึ่งซึ่งเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายทั่วไปพอ ๆ กับ น้ำพริกหนุ่ม ในงานเลี้ยงแบบขันโตกดินเนอร์ เพื่อต้อนรับนักท่องเที่ยวผู้มาเยือนดินแดนถิ่นไทยงาม หากขาดซึ่งน้ำพริกอ่องแล้ว นั่นถือว่าเป็นข้อบกพร่องอันใหญ่หลวงจนมิน่าจะให้อภัยเป็นอย่างยิ่งน้ำพริกอ่องเครื่องปรุงหลัก ๆ ดังนี้ เนื้อหมูสับ พริกแห้ง กระเทียม หอม มะเขือเทศ เกลือ ปลาร้า ( อาจใส่หรือไม่ก็ได้ ) ถั่วเน่าแข็บ ( ถั่วเหลืองหมักทำเป็นแผ่นตากแห้ง หากไม่มีใส่เต้าเจี้ยวแทนได้ ) กะปิ ( ใส่หรือไม่ก็ได้ ) รากผักชี ผักชี ต้นหอมหั่น น้ำมันหมู  ขั้นตอนการทำเริ่มจากนำพริกแห้ง ( จะให้ดีควรแช่น้ำเปล่าทิ้งไว้ซักระยะหนึ่งก่อน ) หอม กระเทียม เกลือ และรากผักชีโขลกพร้อมกัน เมื่อแหลกดีแล้วเอากะปิ ปลาร้า และถั่วเน่าแข็บซึ่งย่างไฟแล้ว หรือเต้าเจี้ยวใส่ลงไปโขลกให้เข้ากัน ส่วนเนื้อหมูสับให้ละเอียด มะเขือเทศหั่น หรือใส่ครกบด ตั้งกระทะใส่น้ำมันพอสมควร เอากระเทียมลงเจียวพอหอมแล้วเอาน้ำพริกลงผัด ใส่เนื้อหมู และมะเขือเทศตามลำดับ พอเนื้อหมู และมะเขือเทศเริ่มสุก เติมน้ำพอสมควร เคี่ยวจนงวด ปรุงรสตามใจชอบแล้วยกลง นำผักชี ต้นหอม หั่นโรยหน้าบางสูตรจะเอาหมูลงผัดก่อนแล้วจึงตามด้วยเครื่องปรุงและมะเขือเทศโขลกให้เข้ากันดีก่อนแล้วค่อยนำไปผัดในน้ำมันบางสูตรก็ย่างพริกแห้งให้หอมก่อนโขลกรวมกับเครื่องแกงอื่น ๆ
ลักษณะเด่นของน้ำพริกอ่อง  มีสีส้มของสีมะเขือเทศ และพริกแห้ง เคี่ยวจนเป็นน้ำขลุกขลิก มีน้ำมันลอยหน้าเล็กน้อย มีสามรส คือ เปรี้ยว เค็ม เผ็ดเล็กน้อย และรสหวานตาม ในการรับประทานน้ำพริกอ่องจะนิยมใช้ผักจิ้ม เช่น มะเขือเปราะ ถัวฝักยาว ผักกาดขาว ต้นหอม ผักชี ถั่วพู กะหล่ำปลี แตงกวา จะนึ่งจะลวกหรือกินสดก็ได้ หากมีแคบหมูมากินด้วยก็ยิ่งอร่อยเพิ่มรสชาติให้สมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้นปัจจุบันน้ำพริกอ่องได้รับการพัฒนาและปรับปรุงให้มีรสชาติที่แตกต่างกันออกไป แล้วแต่ประสบการณ์ความชำนาญของผู้ปรุง ผู้เขียนเคยมีโอกาสได้ลิ้มลองสัมผัสกับรสชาติของน้ำพริกอ่องในห้องอาหารตามโรงแรมหรู หลายแห่งในจังหวัเชียงใหม่ จนเกิดความรู้สึกทึ่งในความคิดสร้างสรรค์ของหัวหน้าพ่อครัวห้องอาหารนั้น ๆบางร้านจะเน้นความสำคัญกับปริมาณหมูสับมาก เมื่อรับประทานเข้าไปแล้วนึกยังไงก็นึกไม่ออกเลยว่า นี่คือน้ำพริกชนิดหนึ่งของคนล้านนา เพราะมีรสคล้ายคลึงกับหลนอะไรซักอย่าง บางรายรสชาติมีส่วนคล้ายกับน้ำราดสปาเก็ตตี้ของชาวอิตาเลี่ยนตอนใต้ บ้างก็มีไข่เจียวหั่นเป็นฝอยประดับอยู่บนส่วนหน้าของน้ำพริก แม้กระทั่งเนื้อลำไย ลิ้นจี่ และ องุ่นก็ยังเคยเจอหากมองโลกในแง่ดีก็จะเห็นว่าผู้ปรุงนับเป็นศิลปินผู้มีจินตนาการอันบรรเจิด ต้องการจะต่อยอดภูมิปัญญาล้านนาโบราณ คงไม่มีใครตั้งใจจะทำลายรสชาติของแท้และดั้งเดิม อันเป็น
(24)
เอกลักษณ์สืบเนื่องติดต่อกันมาช้านานหลายชั่วอายุคนอย่างไรก็ตามน้ำพริกอ่องยังคงครองความเป็นอาหารยอดนิยมของคนล้านนามาแต่อดีตตราบจนถึงปัจจุบันอ้างอิงจาก ล้านนาคดี
        น้ำพริกอ่องและผักที่นำมารับประทานกับน้ำพริกอ่องจะรับประทานสดๆ หรือจะทำให้สุกโดยการลวก ต้มก่อนก็ได้ แล้วแต่จะชอบอย่างไร น้ำพริกอ่องก็เช่นเดียวกับน้ำพริกชนิดอื่นๆ ที่รวมความกลมกลืนของรสเปรี้ยว เผ็ด เค็ม หวาน ซึ่งสรรพคุณของอาหารจะเป็นไปตามรส คือ รสหวาน รสเปรี้ยว รสเผ็ด จะช่วยเจริญอาหารแน่นอน
 
(25)
            4.5   วิชาภาษาอังกฤษ
Garnish
- 250 g minced pork.
- 2 tablespoons red curry paste.
- Tomatoes 20 small balls.
- Soy sauce (or fish sauce) 1 tbsp.
- Sugar is 2 1/2 tbsp.
- Concentrated tamarind juice 1 tsp.
- 2 tablespoons vegetable oil.

Ingredient
One. Pork chops 1/2 kg.
Two. Tomato color 15 balls.
Three. Celery and onion for 2 trees.
4th. Sauce 3 tbsp.
Five. Coconut 2 tablespoons sugar.
6. 4 tablespoons oil for stir-fry.
Curry paste mixture.
One. Dried 10 tablets.
Two. Shallots, chopped 4 tbsp.
Three. Garlic, minced 4 tablespoons.
4th. Coriander root root 5.
Five. Paste 1 tsp.
6., Salt, 1 tsp.
(Pound everything together thoroughly).

How do
One. Tomato juice to wash it thoroughly. Cut into four parts. I put in a mortar with curry sauce.
Two. Pounded chilli, tomato paste and mix well with enough rough.

Three. Preheat to medium heat. Put oil in a pot. Wait until the oil is hot, add the pounded them into a paste. Stir until onion is awhile to pork chops.

4th. Fried pork chops to the sauce, until pork is cooked. It is seasoned with spices and soy sauce (or fish sauce), palm sugar and tamarind juice concentrate. All the ingredients together to taste like, then turn off the stove and put down.


Five. Dip bowl, then serve with fresh vegetables such as beans, cucumbers, lettuce and forums.
 
 
(26)
1.5            วิชาศิลปะ
 
  
                                                  ทำนองเพลง
เพลงน้ำพริก อ่อง
ต่อไปนี้จะเล่า                                                             ถึงอาหราอร่อย
คือน้ำพริกอ่องที่กินบ่อยๆ                                          รสชาติแซบดี
วิธการก็ง่าย                                                                จะกล่าวได้ต่อไปนี้
มันเป็นวิธี                                                                  ที่วิเศษเหลือหลาย
ไปซื้อหมูสับ                                                               ที่ขนาดพอเหมาะ
สับสับเฉาะเฉาะ                                                          ไม่ต้องมากมาย
ตำพริกกับกระเทียม                                                    ให้เยี่ยมกลิ่นอาย
มะขามน้ำปลาน้ำตาลทราย                                         น้ำตาลปีบถ้ามี
ปรุงรสให้แซบหนอ                                                    กะปิป่นของดี
มะเขือเทศเร็วเข้า                                                       เอาถั่วฝักยาวใส่เร็วรี่
เสร็จสรรพแล้วซี                                                        ยกออกจากครัว
 
(27)
 
4.7   วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา     
ม. 4/5   กลุ่มที่  22/44
ใบงานที่  2
 
รายวิชา  :  สุขศึกษาและพลศึกษา               รหัสวิชา 31202                ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา                                          โรงเรียนโนนสูงศรีธานี
ผู้สอน  :   นายศิริศักดิ์  ภักดียา
 
เรื่อง  อาหารท้องถิ่นกับการวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัว
คำสั่ง  ให้นักเรียนสัมภาษณ์ ปราชญ์ชุมชุนที่นักเรียนอาศัยอยู่  เกี่ยวกับเมนูอาหารในท้องถิ่นนักเรียน  1  เมนู  ดังนี้
1.  ปราชญ์/ วิทยากร 
            ชื่อ นางหวาน   ปล้องงูเหลือม
ที่อยู่  บ้าน บัว 2  บ้านเลขที่ 26 หมู่ตำบลโนนสูง
อำเภอ  โนนสูง   จังหวัดนครราชสีมา
            บทสัมภาษณ์  โดยสรุปทำน้ำพริกมา 10 ปี และได้ทดลองการทำน้ำพริกอ่องมาแล้วเป็นเวลามา 7 ปี  ยายหวานได้บอกวิธีการทำน้ำพริกอ่อง ประวัติความเป็นมา สูตรของน้ำพริกว่าวิธีการทำเป็นอย่างไร
 
2.  ชื่อเมนูอาหาร  น้ำพริกอ่อง  เลิศรส
 
3.  ส่วนประกอบอาหาร
            3.1  เนื้อหมู กะปิ หมู่ 1   สารอาหารที่ได้รับโปรตีน
            3.2  น้ำตาล  หมู่ 2   สารอาหารที่ได้รับคาร์โบไฮเดรต
            3.3 มะเขือเทศ กระเทียม หอม  หมู่ 3   สารอาหารที่ได้รับ วิตามิน
            3.4  -    หมู่ –    สารอาหารที่ได้รับ  -
            3.5 น้ำมันพืช หมู่ 5 สารอาหารที่ได้รับไขมัน
            3.6  -  หมู่    สารอาหารที่ได้รับ-
 
4.  วิเคราะห์ ประโยชน์ทางโภชนาการต่อร่างกาย
คือ  เมื่อเรากินอาหาร เช่น น้ำพริก ผัก ผลไม้ แล้วเมื่อเข้าสู่เข้าสู่ร่างกายคนแล้ว  ร่างกายสามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์ในด้านการเจริญเติบโต การค้ำจุนและการซ่อมแซมส่วนต่างๆของร่างกาย โภชนาการมีความหมายกว้างกว่าและต่างจากคำว่าอาหาร  เพราะอาหารที่กินกันอยู่ทุกวันนี้มีดีเลวต่างกัน อาหารหลายชนิดที่กินแล้วรู้สึกอิ่ม แต่ไม่มีประโยชน์ หรือก่อโทษต่อร่างกายได้


(28)
 
4.8   วิชาการงานและเทคโนโลยี
วิธีการทำน้ำพริกอ่อง
1. นำมะเขือเทศมาล้างให้สะอาด หั่นเป็นสี่ส่วน แล้วนำไปใส่ในครกรวมกับน้ำพริกแกงเผ็ด
2. โขลกมะเขือเทศกับน้ำพริกแกงเผ็ดให้เข้ากันพอหยาบ

3. เปิดเตาที่ไฟปานกลาง นำน้ำมันใส่ลงในหม้อ รอจนน้ำมันเริ่มร้อนก็ใส่น้ำพริกที่โขลกไว้ลงไป ผัดซักพักจนเริ่มหอมก็ใส่หมูสับลงไป

4. ผัดหมูสับให้เข้ากับน้ำพริกจนหมูสับสุก ก็ปรุงรสด้วยเครื่องปรุงต่างๆ คือ ซีอิ้วขาว (หรือน้ำปลา) น้ำตาลปี๊บ และน้ำมะขามเปียกเข้มข้น คนให้เครื่องปรุงทั้งหมดเข้ากัน ชิมรสตามชอบ จากนั้นก็ปิดเตาและยกลงได้

5. ตักใส่ถ้วย จากนั้นก็ยกเสิร์ฟพร้อมผักสดต่างๆ เช่น ถั่วฝักยาว ผักกาดขาว และแตงกวา ได้เลยค่ะ
 
 
(29)
บทที่ 5
สรุปผลการศึกษา ข้อเสนอแนะ
 
            การศึกษาเกี่ยวกับ (ชื่อโครงงาน) น้ำพริกอ่อง  เลิศรส
กลุ่มผู้ศึกษา สรุปผลการศึกษาดังนี้
 
1.  วัตถุประสงค์
2.1  เพื่อศึกษา (ชื่อโครงงาน) น้ำพริกอ่อง   เลิศรส
ในเขตอำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา
            2.2   เพื่อศึกษาความพึงพอใจใน (ชื่อโครงงาน) น้ำพริกอ่อง   เลิศรส
ในเขตอำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา  
 
2.   ขั้นตอนจัดทำ  น้ำพริกอ่อง   เลิศรส   สรุปผลขั้นตอนการทำ ดังนี้ (ยกมาจากหน้า 9)
1. นำมะเขือเทศมาล้างให้สะอาด หั่นเป็นสี่ส่วน แล้วนำไปใส่ในครกรวมกับน้ำพริกแกงเผ็ด
2. โขลกมะเขือเทศกับน้ำพริกแกงเผ็ดให้เข้ากันพอหยาบ
3.เปิดเตาไฟที่ปานกลาง  นำน้ำมันใส่ลงในหม้อ  รอจนน้ำมันเริ่มร้อนก็ใส่น้ำพริกที่โขลกไว้ลงไป ผัดซักจนเริ่มหอมฏ็ใช้หมูสับลงไป
4.ผัดหมูสับให้เข้ากับน้ำพริกจนหมูสับสุกก็ปรุงรสด้วยเครื่องปรุงต่างๆ คือ ซีอิ้ว (หรือ น้ำปลา) น้ำตาลปิ๊บ  และน้ำมะขามเปียกเข้มข้น คนให้เครื่องปรุงทั้งหมดเข้ากัน ชิมรสตามชอบจากนั้นก็ปิดเตาและยกลงได้
5.ตักใส่ถ้วย  จากนั้นก็ยกเสริฟ์พร้อมผักสดต่างๆ เช่น ถั่วฝักยาว ผักกาดขาว และแตงกวา ได้เลยค่ะ
                                                                                                                                                (30)
 
3.   ผลการประเมินความพึงพอใจการจัดทำโครงงาน และเป็นการประเมินด้านกระบวนการ
      (P = Process)
                        ค่าเฉลี่ยของคะแนน                 เท่ากับ 4          (เต็ม 5 คะแนน)
                        ความหมายของค่าคะเฉลี่ย      เท่ากับ             มีความพึงพอใจปานกลาง
4.  ผลการประเมินของผู้ปกครอง  ประเมินด้านคุณธรรมจริยธรรมหรือเจตคติ  (A  =  Attitude)
                        ค่าเฉลี่ยของคะแนน                 เท่ากับ 4          (เต็ม 5 คะแนน)
                        ความหมายของค่าคะเฉลี่ย      เท่ากับ             มีความพึงพอใจปานกลาง
 
5.  ประเมินผลด้านความรู้
                        ค่าเฉลี่ยของคะแนน                 เท่ากับ 5          (เต็ม 10  คะแนน)
                        ความหมายของค่าคะเฉลี่ย      เท่ากับ             มีความพึงพอใจปานกลาง.
            (นำผลการประเมินจากการประเมินของครูในวันจัดกิจกรรมบูรณาการมาใส่)
 
6.ข้อค้นพบใหม่ที่นักเรียนได้รับจากการศึกษาโครงงานนี้(ตามความเป็นจริง) คือ
เราได้นำเศรษฐกิจมาใช้ในการทำโครงงาน และเราเรียนถึงความเป็นมาของน้ำพริก ประโยชน์ของน้ำพริก  และเรียนรู้ศึกษาจากภูมิปัญญาไทย  ได้รับความสามัคคีในการทำโครงงาน
7.  ข้อเสนอแนะ เพื่อปรับปรุงสำหรับการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
ขอให้มีเวลาทำโครงงานมากกว่านี้ เพื่อที่เราจะได้เตรียมเนื้อหาในการทำโครงงานส่วนในการทำน้ำพริกเราจะได้มีเวลาในการศึกษาวิธีการทำ
8.  นำเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้อดย่างไรกับโครงงานของนักเรียน (อธิบาย)
ในการทำโครงงานเราก็หาเศษวัสดุต่างๆ ที่เราไม่ใช้มาจัดทำในโครงงานของเรา ส่วนในการทำน้ำพริกเราก็หาเครื่องปรุงที่เรามีอยู่ในครัวเรือนมาประกอบเพื่อประหยัดในการใช้จ่าย ส่วนผักที่เราไว้กินกับน้ำพริกเราก็เก็บเอาจากสวนที่เราปลูก
 
รายชื่อครูคณะกรรมการบูรณาการระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4


ที่
ชื่อ สกุล
กลุ่มสาระการเรียนรู้
หมายเหตุ
1
นาย ธวัชชัย   วัชระประทีป
ภาษาไทย
 
2
นางสาว มลฑิรา   ชมภูธร
ภาษาไทย
 
3
นาง สุวิชญา   ดังไธสง
คณิตศาสตร์
 
4
Zhoe   Jieng   ping
ภาษาต่างประเทศ
 
5
นาย ศิริศักดิ์   ภักดียา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
6
นางสาว เกณิกา   วงศ์นรินทร์
ศิลปะ
 
7
นาง นภาพร   แป้นขำ
วิทยาศาสตร์
 
8
นาย โสม   ยากลิ่น
ภาษาต่างประเทศ
 
9
นาง ปราณีต   วงศ์ปัตแก้ว
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒธรรม
 
10
นาง ชนนิกานต์   ทองคำ
ภาษาต่างประเทศ
 
11
นาย สุรศักดิ์   ถนอมพจน์
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒธรรม
 
12
นาง ปิยาภา   จรโคกกรวด
ภาษาต่างประเทศ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

 

 

 

 

 
 

                                                                                                                                   
 

 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น